บทความ

โดย กฤตยา อาชวนิจกุลและ กุลภา วจนสาระ  สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

บทความนี้ อภิปรายถึงสถานการณ์ท้องไม่พร้อมและการเกิดในประเทศไทย ที่สะท้อนให้เห็นถึงการที่ผู้หญิงไม่สามารถเลือกตัดสินใจในเรื่องอนามัยเจริญพันธุ์ของตัวเองได้ การตั้งครรภ์อย่างไม่พร้อมจึงสร้างผลกระทบทางลบต่อคุณภาพชีวิตของผู้หญิงไทยในหลายลักษณะ อาจเป็นได้ทั้งการเกิดที่ไม่มีคุณภาพติดตามมาด้วยการเป็นครอบครัวที่ไม่พร้อม หรือลงท้ายที่ยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย

อ่านบทความ


โดย กฤตยา อาชวนิจกุล  สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

จนถึงทุกวันนี้ก็ยังมีผู้หญิงที่บาดเจ็บ พิการ หรือเสียชีวิตจากการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัยในทุกจังหวัดของประเทศไทย ทั้ง ๆ ที่เทคโนโลยีที่ใช้เพื่อยุติการตั้งครรภ์ ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่องและก้าวหน้ามากขึ้นเรื่อย ๆ ในช่วง 20 ปีที่ผ่านมา จนเกิดเครื่องมือหรือตัวยาใหม่ ๆ ที่ใช้ง่าย ปลอดภัย ราคาถูก และมีประสิทธิภาพในการยุติการตั้งครรภ์สูงถึง  95-99%

อ่านบทความ


โครงการการจัดทำรายงานสุขภาพคนไทย
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ร่วมกับ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

ตลอดทั้งปี 2552 หลายฝ่ายนำเสนอข้อมูลและสถิติเพื่อส่งสัญญาณเตือนสังคมถึงประเด็น “แม่วัยรุ่น” ในฐานะระเบิดเวลาลูกใหม่ของสังคมไทย รัฐบาลสนองตอบปัญหาอย่างรวดเร็ว แต่น่าเสียดายที่กลับกำหนดปฏิบัติการในพื้นที่ขนาดเล็กจนไม่สามารถที่จะก่อผลกระทบที่ดีต่อสภาพปัญหาในภาพรวม

อ่านบทความ


โดย กฤตยา อาชวนิจกุล  สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

สิ่งที่เราต้องการ คือไม่ให้คนตายหรือบาดเจ็บจากการทำแท้ง ไม่ติดเชื้อ ทำแท้งได้อย่างปลอดภัย ขณะเดียวกันก็มีการป้องกันในครั้งต่อไป และป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นกับผู้หญิงคนอื่น ๆ

อ่านบทความ


โดย พัชชา เจิงกลิ่นจันทร์  มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

แนวทางการจัดสวัสดิการสำหรับแม่วัยรุ่นนั้น หัวใจสำคัญ คือ ต้องสลายอคติ และการตีตราแม่วัยรุ่นให้ได้เสียก่อน เพราะการตีตราแม่วัยรุ่นจะส่งผลให้การจัดสวัสดิการมีความคับแคบ

อ่านบทความ